การแบ่งยุคสมัย
- 1. นักประวัติศาสตร์ได้แบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ออกเป็น 2 สมัย โดยอาศัยหลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษรเป็นเกณฑ์ใน การแบ่ง ได้แก่ สมัยก่อนประวัติศาสตร์ เป็นช่วงเวลาที่มนุษย์ยังไม่ รู้จักใช้ตัวหนังสือในการเล่าเรื่องราว และสมัยประวัติศาสตร์ เป็น ช่วงเวลาที่มนุษย์ใช้ตัวหนังสือในการบอกเล่าเรื่องราวต่างๆในสังคม
- 2. 1.1 สมัยก่อนประวัติศาสตร์ สมัยก่อนประวัติศาสตร์ เป็นช่วงเวลาที่มนุษย์ยังไม่รู้จักการ ประดิษฐ์ตัวอักษรขึน้ใช้ จึงยังไม่มีหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่เป็น ลายลักษณ์อักษร ดังนั้น การศึกษาเรื่องราวของมนุษย์สมัย ก่อนประวัติศาสตร์ จึงต้องอาศัยการวิเคราะห์และตีความจากหลักฐาน ทางโบราณคดีที่ค้นพบ เช่น เครื่องมือ เครื่องใช้ เครื่องประดับที่ทาจาก หิน โลหะ และโครงกระดูกมนุษย์ สมัยก่อนประวัติศาสตร์สามารถแบ่งได้เป็น 2 ยุค คือ ยุคหินและ ยุคโลหะ
- 3. 1.1.1 ยุคหิน ยุคหินแบ่งออกเป็น 3 ยุคย่อย ได้แก่ ยุคหินเก่า ยุคหินกลาง และยุคหินใหม่
- 4. 1.ยุคหินเก่า (2,500,000 – 10,500 ปีมาแล้ว) มนุษย์ในยุคนี้ เริ่มทาเครื่องมือเครื่องใช้ด้วยหินอย่างง่ายก่อน เมื่อเวลาผ่านไปก็ สามารถดัดแปลงให้เหมาะกับการใช้งานเครื่องมือหิน สามารถแบ่ง เครื่องมือยุคหินเก่าออกได้เป็น 3 ช่วง คือ ยุคหินเก่าตอนต้น (2,500,000 – 108,000 ปี มาแล้ว) เครื่องมือเครื่องใช้ทาด้วยหิน มีลักษณะเป็นขวานกะเทาะ แบบกาปั้น ยุคหินเก่าตอนกลาง (108,000 – 49,000 ปี มาแล้ว) เครื่องมือเครื่องใช้ทาด้วยหิน มีลักษณะแหลมคม มีด้ามยาว
- 5. ยุคหินเก่าตอนปลาย ( 49,000 – 10,500 ปีมาแล้ว) เครื่องมือเครื่องใช้มีความหลากหลายกว่ายุคก่อน ได้แก่ เครื่องมือ เครื่องใช้ที่ทาจากหินและกระดูกสัตว์โดยการแกะสลัก
- 6. ขวานกะเทาะ เครื่องมือหินกะเทาะ เครื่องปั้นดินเผา ภาชนะ เก็บอาหาร เครื่องมือหินกะเทาะ
- 7. โครงกระดูกมนุษย์วานรใน ยุคหิน เครื่องมือในสมัยยุคหิน
- 8. ลักษณะสังคมเป็นสังคมแบบล่าสัตว์ พบว่าในช่วงปลาย ยุคหินเก่ามนุษย์มีความสามารถทางด้านศิลปะ ซึ่งพบภาพวาดตาม ผนังถา้ ส่วนใหญ่เป็นภาพสัตว์ป่า สภาพสังคมที่มีลักษณะของการอยู่รวมกันเป็นครอบครัว เป็น กลุ่มย่อยๆ เพื่อการดารงชีวิต ลักษณะทางสังคมก่อให้เกิดสิ่งสาคัญ คือ เครื่องมือ และภาษาพูด
- 9. 2.ยุคหินกลาง (10,500 – 10,000 ปีมาแล้ว) เป็นช่วงเวลาที่ มนุษย์รู้จักทาเครื่องจักสาน ตลอดจนการนาสุนัขมาเลีย้งเป็นสัตว์เลยี้ง เริ่มมีการปลูกพืช แต่อาชีพหลักของมนุษย์ยังคงเป็นการล่าสัตว์ และยังร่อนเร่ไปตามแหล่งที่อุดมสมบูรณ์ มีการประดิษฐ์หินกะเทาะที่ ประณีตขึน้
- 10. 3.ยุคหินใหม่ (10,000 – 4,000 ปีมาแล้ว) มนุษย์ในยุคนีอ้าศัย อยู่รวมกันเป็นหมู่บ้าน เปลี่ยนวิถีชีวิตของมนุษย์จากสังคมล่าสัตว์ เป็นสังคมเกษตรกรรม และตัง้หลักแหล่งตามบริเวณลุ่มแม่นา้ ยุคหินใหม่เป็นยุคเกษตรกรรม พืชเพาะปลูกที่สาคัญในยุคนี้คือ ข้าว
- 11. มนุษย์ในยุคหินใหม่ ยังมีความเชื่อและประกอบพิธีกรรมใน รูปแบบต่างๆ เพื่อบูชาสิ่งเหนือธรรมชาติ เครื่องมือที่สาคัญในยุคนี้คือ ขวานหินดามไม้ และเคียวหิน เหล็กไฟด้ามไม้
- 12. เคียวหินเหล็กไฟด้ามไม้
- 13. หม้อสามขา เครื่องปั้นดินเผาในสมัย หินใหม่ คาดว่าสร้างใน ยุคหินใหม่
- 14. 1.1.2 ยุคโลหะ โลหะชนิดแรกที่มนุษย์รู้จักนามาหลอมเป็นเครื่องมือ เครื่องใช้ คือ ทองแดง ยุคโลหะแบ่งออกเป็น 2 ยุคย่อย คือ ยุคสาริดและยุค เหล็ก
- 15. 1.ยุคสาริด (4,000 – 2,700 ปีมาแล้ว) เป็นช่วงเวลาที่มนุษย์รู้จัก ใช้โลหะสาริด สาริดเป็นโลหะผสมระหว่างทองแดงกับดีบุก เครื่องมือเครื่องใช้ในยุคสาริดที่พบตามแหล่งต่างๆ นอกจากทา ด้วยสาริดแล้ว ยังพบเครื่องมือเครื่องใช้ทาจากดินเผา หิน และแร่ และ เครื่องประดับ ในยุคนี้ความเป็นอยู่ของมนุษย์เปลี่ยนแปลงไปมาก ทั้งด้าน การเมืองและสังคม ชุมชนเกษตรกรรมขยายตัวจนกลายเป็นชุมชน เมือง
- 16. กลองมโหระทึกที่มนุษย์ยุค สาริดประดิษฐ์ขึน้ลูกพรวนสาริด ใบหอกสาริด ปลอกแขนสาริด
- 17. เครื่องปั้นดินเผาในยุคสาริด
- 18. ภาชนะดินเผาลายเขียนสี
- 19. เครื่องประดับทาจากสาริด ขวานสาริดมีร่องรอยของผ้า ติดอยู่
- 20. ไหเขียนสี ที่บ้านเชียง ผ้าบนห่วงคอสาริดจาก บ้านเชียง
- 21. กาไลสาริดหล่อมีเศษสิ่ง ทอตัดอยู่ พบในหลุมศพที่ บ้านเชียง เกราะที่ทาจากโลหะ ถูก ค้นพบในยุโรปกลาง คาด ว่าอยู่ในช่วงยุคสาริด
- 22. 2.ยุคเหล็ก (2,700 – 2,000 ปีมาแล้ว) เริ่มต้นจากพัฒนาทางด้าน เทคโนโลยีการผลิตโลหะของมนุษย์ที่สามารถหลอมโลหะประเภทเหล็ก ขึน้มาทาเครื่องมือเครื่องใช้ได้ เหล็กมีความแข็งแรงและทนทานกว่าสาริด มาก แหล่งอารยธรรมแรกที่สามารถผลิตเหล็กได้คือ แหล่งอารยธรรมเมโส โปเตเมีย เครื่องมือเครื่องใช้ที่มนุษย์ ในยุคเหล็กได้ประดิษฐ์ขึน้
- 23. เครื่องมือ ทาง การเกษตร
- 24. 1.2 สมัยประวัติศาสตร์ มีตัวอักษรสาหรับใช้ในการจดบันทึก การศึกษาประวัติศาสตร์สากลมีความแตกต่างระหว่าง การศึกษาประวัติศาสตร์ตะวันออก แบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ตามช่วงเวลาของแต่ละราชวงศ์ หรือศูนย์กลางอานาจเป็นเกณฑ์ ในขณะที่ประวัติศาสตร์ตะวันตก แบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ตามเหตุการณ์สาคัญทางประวัติศาสตร์
- 25. 1.2.1 การแบ่งยุคสมัยในประวัติศาสตร์ตะวันออก จัดแบ่งไปตามภูมิภาคต่างๆ
- 26. 1. การแบ่งยุคสมัยประวัติศาสตร์จีน ใช้พัฒนาการทางอารยธรรมและช่วงเวลาที่ราชวงศ์ต่างๆมี อานาจในการปกครอง เป็นหลักเกณฑ์ในการแบ่งยุคสมัยทาง ประวัติศาสตร์จีน เขตพืน้ที่ของราชวงศ์ ต่างๆตาม ประวัติศาสตร์ของจีน
- 27. 1)ประวัติศาสตร์จีนสมัยโบราณ ช่วงเวลาการเริ่มต้นจาก รากฐานอารยธรรมจีน ตัง้แต่สมัยประวัติศาสตร์ที่มีการสร้างสรรค์ วัฒนธรรมหยางเซา วัฒนธรรมหลงซาน อันเป็นวัฒนธรรม เครื่องปั้นดินเผาและโลหะสาริด ต่อมาเข้าสู่สมัยประวัติศาสตร์ ราชวงศ์ต่าง ๆ ได้ปกครอง ประเทศ ได้แก่ ราชวงศ์เซียะ และราชวงศ์ชาง (1,570-1,045 ปีก่อน คริสต์ศักราช) เป็นช่วงเวลาที่จีนเริ่มก่อตัวเป็นรัฐที่มีรากฐานการ ปกครอง เศรษฐกิจ และสังคม ในสมัยนีมี้การใช้ตัวอักษรจีนโบราณ เขียนลงบนกระดองเต่า
- 28. เครื่องปั้นดินเผาหยางเชา เครื่องปั้นดินเผาหลงซาน
- 29. อักษรจีนบนกระดองเต่า
- 30. ต่อมาก็เป็นราชวงศ์โจว (1,045-256 ปีก่อนคริสต์ศักราช) ซึ่งแบ่งออกเป็นราชวงศ์โจวตะวันตก และราชวงศ์โจวตะวันออก เมื่อราชวงศ์โจวตะวันออกเสื่อมลง เกิดสงครามระหว่าง เจ้าผู้ครองรัฐต่าง ๆ ในที่สุดรัฐฉิน ได้รวบรวมประเทศก่อตัง้ราชวงศ์ ฉิน(221-206 ปีก่อนคริสต์ศักราช) และสมัยราชวงศ์ฮั่น202 ปีก่อนคริสต์ศักราช – ค.ศ.220) เป็นสมัยที่รวมศูนย์อานาจจนเป็นจักรพรรดิ
- 31. 2)ประวัติศาสตร์จีนสมัยกลาง อารยธรรมมีการปรับตัวเพื่อ รับอิทธิพลต่างชาติเข้ามาผสมผสานในสังคมจีน ที่สาคัญคือ พระพุทธศาสนา ประวัติศาสตร์จีนสมัยกลางเริ่มต้นด้วยความวุ่นวายจาก การล่มสลายของราชวงศ์ฮั่น เรียกว่าสมัยความแตกแยกทางการ เมือง (ค.ศ. 220 – ค.ศ. 589) เป็นช่วงเวลาการยึดครอบของ ชาวต่างชาติ การแบ่งแยกดินแดน
- 32. ก่อนที่จะมีการรวมประเทศในสมัยราชวงศ์สุย (ค.ศ. 581 – ค.ศ. 618) และสมัยราชวงศ์ถัง (ค.ศ. 618 – ค.ศ. 907) ช่วงเวลา นีป้ระเทศจีนเจริญรุ่งเรืองสูงสุดก่อนที่จะแตกแยกอีกครัง้ในสมัย เรียกว่า ห้าราชวงศ์กับสิบรัฐ (ค.ศ. 907 – ค.ศ. 979) ต่อมาสมัยราชวงศ์ซ่ง (ค.ศ. 960 – ค.ศ. 1279) สามารถ รวบรวมประเทศจีนได้อีกครั้ง และมีความเจริญรุ่งเรืองทาง ศิลปวัฒนธรรม จนกระทั่งชาวมองโกลสามารถยึดครองประเทศ จีนและสถาปนาราชวงศ์หยวน (ค.ศ. 1260 – ค.ศ. 1368)
- 33. 3)ประวัติศาสตร์จีนสมัยใหม่ ประวัติศาสตร์จีนสมัยใหม่เริ่ม ใน ค.ศ. 1368 เมื่อชาวจีนขับไล่พวกมองโกลออกไป แล้วสถาปนา ราชวงศ์หมิง (ค.ศ. 1368 – ค.ศ. 1644) ขึน้ปกครองประเทศจีน และ ถูกโค่นล้มอีกครัง้โดยราชวงศ์ซิง (ค.ศ. 1664 – ค.ศ. 1911) ในช่วงปลายสมัยราชวงศ์ชิงเป็นเวลาที่ประเทศจีนถูกคุกคาม จากชาติตะวันตก และจีนพ่ายแพ้แก่อังกฤษในสงครามฝิ่น (ค.ศ. 1839 – ค.ศ. 1842) จนสิน้สุดราชวงศ์ใน ค.ศ. 1911 สงครามฝิ่น
- 34. 4) ประวัติศาสตร์จีนสมัยปัจจุบัน ประวัติศาสตร์จีนสมัย ปัจจุบันเริ่มต้นใน ค.ศ. 1911 เมื่อจีนปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครอง จากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นระบอบสาธารณรัฐโดย ดร. ซุน ยัตเซน (ค.ศ. 1911 – ค.ศ. 1949) ต่อมาพรรคคอมมิวนิสต์ได้ ปฏิวัติและได้ปกครองจีน จึงเปลี่ยนแปลงการปกครองระบอบ คอมมิวนิสต์ ตัง้แต่ ค.ศ. 1949 จนถึงปัจจุบัน ดร.ซุน ยัตเซน
- 35. 2. การแบ่งยุคสมัยประวัติศาสตร์อินเดีย การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์อินเดีย ใช้หลักเกณฑ์ พัฒนาการของอารยธรรมอินเดียและเหตุการณ์สาคัญเป็นเกณฑ์
- 36. ช่วงเวลาการวางพืน้ฐานของอารยธรรมอินเดีย เริ่มตั้งแต่ สมัยอารยธรรมลุ่มแม่นา้สินธุ โดยมีพวกดราวิเดียน เมื่อ 2,500 ปี ก่อนคริสต์ศักราชจนกระทั่งอารยธรรมแห่งนีล้่มสลายลงเมื่อ 1,500 ปีก่อนคริสต์สักราชเมื่อชนชาวอารยันอพยพเข้ามาตัง้ ถิ่นฐานและก่อตัง้อาณาจักรหลายอาณาจักรในภาคเหนือของ อินเดีย นับว่าเป็นช่วงเวลาที่การเริ่มสร้างสรรค์อารยธรรมอินเดีย ที่แท้จริง มีการก่อตัง้ศาสนาต่าง ๆ เรียกว่า สมัยพระเวท (1,500 – 900 ปีก่อนคริสต์ศักราช)
- 37. 1) ประวัติศาสตร์อินเดียโบราณ เริ่มต้นในสมัยมหากาพย์ (900 – 600 ปีก่อนคริสต์ศักราช) ต่อมาอินเดียรวมตัวกันในสมัย ราชวงศ์มคธ (600 – 322 ปีก่อนคริสต์ศักราช) และมีการรวม ตัวอย่างแท้จริงในสมัยราชวงศ์ เมารยะ (322 - 184 ปีก่อน คริสต์ศักราช ) ระยะเวลานี้เป็นเวลาที่อินเดียเปิดเผยแผ่ พระพุทธศาสนาไปยังดินแดนต่าง ๆ เปิดเผยแผ่ พระพุทธศาสนาไปยัง ดินแดนต่าง ๆ
- 38. ต่อมาราชวงศ์เมารยะล่มสลายอินเดียก็เข้าสู่สมัยแห่ง การแตกแยกและการรุกรานจากภายนอก จากพวกกรีกและ พวกกุษาณะ รยะเวลานีเ้ป็นสมัยการผสมผสานทางวัฒนธรรม ก่อนที่จะรวมเป็นจักรวรรดิได้อีกครัง้ใน ค.ศ. 320 โดยราชวงศ์ คุปตะ (สมัยคุปตะ ค.ศ. 320 – ค.ศ. 535) ราชวงศ์คุปตะ
- 39. 2) ประวัติศาสตร์อินเดียสมัยกลาง อินเดียเข้าสู่สมัย กลาง ค.ศ. 535 – ค.ศ. 1526 สมัยนีเ้ป็นช่วงเวลาของความ วุ่นวายทางการเมือง และการรุกรานจากต่างชาติ โดยเฉพาะชาว มุสลิม สมัยกลางจึงเป็นสมัยที่อารยธรรมมุสลิมเข้ามามีอิทธิพล ในอินเดีย สมัยกลางแบ่งได้เป็นสมัยความแตกแยกทางการเมือง (ค.ศ. 535 – ค.ศ. 1200) และสมัยสุลต่านแห่งเดลลี (ค.ศ. 1200 – ค.ศ. 1526)
- 40. 3) ประวัติศาสตร์อินเดียสมัยใหม่พวกมุคัลได้ตัง้ราชวงศ์มุคัล ถือว่าสมัยมุคัล (ค.ศ. 1526 – ค.ศ. 1858) เป็นการเริ่มต้นสมัยใหม่ จนกระทงั่อังกฤษเข้าปกครองอินเดียโดยตรงใน ค.ศ. 1858 จนถึง ค.ศ. 1947 อินเดียจึงได้รับเอกราชจากประเทศอังกฤษ อินเดียจึงเข้าสู่ยุค สมัยประวัติศาสตร์ปัจจุบัน มหาตมะ คานธี ยาวราลห์ เนห์รู มหาตมะ คานธี และ เยาวราลห์ เนห์รู เป็นผู้นาเรียกร้องเอกราช มหาตมะ คานธี ใช้หลักอหิงสา (ความไม่เบียดเบียน ความ สงบ) ในการเรียกร้องเอกราช จนประสบความสาเร็จ
- 41. ประวัติศาสตร์อินเดียสมัยใหม่เป็นช่วงเวลาที่วัฒนธรรม เปอร์เซียและวัฒนธรรมตะวันตกเข้ามามีอิทธิพลในสังคม อินเดีย ขณะที่ชาวอินเดียที่นับถือศาสนาฮินดูได้ยึดมั่นใน ศาสนาของตนเองมากขึน้ และเกิดความแตกแยกในสังคม อินเดีย ดังนัน้ประวัติศาสตร์อินเดียสมัยใหม่ สามารถแบ่งได้ เป็นสมัยราชวงศ์มุคัล (ค.ศ. 1526 – ค.ศ. 1858) และสมัย อังกฤษปกครองอินเดีย (ค.ศ. 1858 – ค.ศ. 1947)
- 42. 4) ประวัติศาสตร์อินเดียสมัยปัจจุบัน ภายหลังจากที่อินเดียได้รับ เอกราชจาประเทศอังกฤษ ภายหลังได้รับเอกราชและถูกแบ่งออกเป็น ประเทศต่าง ๆ ได้แก่ อินเดีย ปากีสถาน และบังคลาเทศ อย่างไรก็ตามสมัยที่วัฒนธรรมมุสลิมเข้ามามีอิทธิพลในอารย ธรรมอินเดียเรียกรวมว่า สมัยมุสลิม (ค.ศ. 1200 – ค.ศ. 1858) หมายถึง รวมสมัยสุลต่านแห่งเดลฮีกับสมัยราชวงศ์มุคัล
- 43. 1.2.1 การแบ่งยุคสมัยในประวัติศาสตร์ตะวันตก นักประวัติศาสตร์ตะวันตกแบ่งยุคสมัยของประวัติศาสตร์ตะวันตก เป็น 4 ยุคสมัย ได้แก่
- 44. 1. ประวัติศาสตร์สมัยโบราณ (3,500 ปีก่อนคริสต์ศักราช – ค.ศ. 476) เริ่มเกิดขึน้เป็นครัง้แรกบริเวณดินแดนเมโสโปเตเมีย แถบลุ่มแม่นา้ไทกริส-ยูเฟรทีส อารยธรรมในสมัยนี้ได้แก่ อารยธรรม เมโสโปเตเมีย อารยธรรมอียิปต์โบราณ อารยธรรมกรีก และอารย ธรรมโรมัน สมัยโบราณ ในประวัติศาสตร์ตะวันตก เริ่มต้นเมื่อ3,500 ปี ก่อนคริสต์ศักราช ซึ่งเป็นช่วงเวลาที่อารยธรรมเมโสโปเตเมีย และ อารยธรรมอียิปต์ ซึ่งเป็นอารยธรรมที่เก่าแก่ที่สุดในโลก จนถึงค.ศ. 476 เมื่อจักรวรรดิโรมันตะวันตกล่มสลาย ประวัติศาสตร์สมัยโบราณ ของชาติตะวันตกจึงสิน้สุดลง
- 45. อารยธรรมเมโสโปเตเมีย อักษรคูนิฟอร์ม ซิกกูแรต (วิหารบูชาเทพเจ้า)
- 46. สวยลอยแห่งบาบิโลน
- 47. 2. ประวัติศาสตร์สมัยกลาง (ค.ศ. 476-ค.ศ. 1453) ช่วงเวลา สมัยกลางนีเ้ป็นช่วงเวลาที่มีการเปลี่ยนแปลงอารยธรรมตะวันตกจาก อารยธรรมโรมันไปสู่อารยธรรมคริสต์ศาสนา เป็นสมัยที่ตะวันตกได้รับ อิทธิพลอย่างมากจากคริสต์ศาสนา ทัง้ทางด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และศิลปวัฒนธรรม นอกจากนีสั้งคมสมัยกลางยังมีลักษณะเป็น สังคมในระบบฟิวดัล หรือสังคมระบบศักดินาสวามิภักดิ์ ที่ขุนนางมี อานาจครอบครองพืน้ที่ โดยประชาชนส่วนใหญ่มีฐานะเป็นข้าติดที่ดิน และดารงชีวิตอยู่ในเขตแมเนอร์ ของขุนนาง ซึ่งเป็นลักษณะพิเศษของ สังคมสมัยกลาง
- 48. สังคมในระบบฟิวดัล
- 49. นอกจากนีใ้นสมัยกลางนีไ้ด้เกิดเหตุการณ์สาคัญ คือ สงคราม ครูเสด ซึ่งเป็นสงครามความขัดแย้งระหว่างคริสต์ศาสนากับศาสนา อิสลาม ที่กินเวลาเกือบ 200 ปี เป็นผลให้เกิดการค้นหาเส้นทางการค้า ทางทะเลและวิทยาการด้านอื่นๆ ตามมา สมัยกลางสิน้สุดใน ค.ศ. 1453 เมื่อพวกออตโตมันเตอร์ สามารถยึดกรุงคอนสแตนติโนเปิลของจักรวรรดิโรมันตะวันตกได้ แต่ นักประวัติศาสตร์บางท่านใช้ ค.ศ.1492 เมื่อคริสโตเฟอร์ โคลัมบัส ค้นพบทวีปอเมริกาเป็นปีสิน้สุดสมัยกลาง คริสโตเฟอร์ โคลัมบัส
- 50. 3. ประวัติศาสตร์สมัยใหม่ (ค.ศ. 476-ค.ศ. 1453) เป็นสมัยของ ความเจริญรุ่งเรืองทางศิลปวิทยาการของอารยธรรมตะวันตก ทัง้ด้าน การเมือง เศรษฐกิจ และสังคม อารยธรรมสมัยใหม่เป็นรากฐานสาคัญของ อารยธรรมตะวันตกในปัจจุบัน ประวัติศาสตร์สมัยใหม่ เป็นช่วงที่มีการสารวจเส้นทางเดินเรือทะเล เพื่อการค้ากับโลกตะวันออก และการเผยแพร่ศาสนาคริสต์ เริ่มตั้งแต่สมัย ฟื้นฟูศิลปวิทยา (Renaissance คริสต์ศตวรรษที่ 15-17) ซึ่งเป็นช่วงสมัยที่ ความเจริญทางวิทยาการต่างๆเจริญรุ่งเรืองอย่างรวดเร็ว
- 51. การสารวจเส้นทางเดินเรือทะเล เพื่อการค้ากับโลกตะวันออก การเผยแพร่ศาสนาคริสต์
- 52. เข้าไปสู่ยุคสมัยแห่งการปฏิวัติวิทยาศาสตร์ (คริสต์วรรษที่ 16-18) ยุคภูมิธรรมหรือยุคแห่งการรู้แจ้ง (คริสต์วรรษที่ 17-18) สมัยประชาธิปไตย ( คริสต์วรรษที่ 17-19) สมัยชาตินิยม (ค.ศ. 1789-1918) สมัยจักรวรรดินิยม (ปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 – สงครามโลกครัง้ที่ 1 ) และสมัยสงครามโลก ( ค.ศ. 1914 – 1945) การแผ่ขยายอานาจของยุโรปในสมัยใหม่ทาให้เกิดความ ขัดแย้งก่อให้เกิดสงครามโลกครัง้ที่ 1 และสงครามโลกครัง้ที่2 ประวัติศาสตร์ สมัยใหม่สิน้สุดลงเมื่อ ค.ศ. 1945 เมื่อสงครามโลกครัง้ที่ 2 ยุตลิง สงครามโลกครัง้ที่ 1 และ 2
- 53. 4. ประวัติศาสตร์สมัยปัจจุบัน (ค.ศ. 1945 – ปัจจุบัน) สมัยหลังปัจจุบันเป็นช่วงสงครามโลกครัง้ที่ 2 ซงึ่มีผลกระทบรุนแรง ทวั่โลก และก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทัง้ทางด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง การปกครองต่อสังคมโลกในปัจจุบัน
http://phatraporn23243.blogspot.com/
วันอังคารที่ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2559
การแบ่งยุคสมัย
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น